22 JAN 2023 บทความผลิตภัณฑ์ 5 นาทีในการอ่าน 8539 VIEWS 55 แชร์

IGNITE YOUR BODY เทคนิคออกกำลังกาย เบิร์นไขมันในตัวคุณ | นิตยสารอะชีฟ ฉบับกุมภาพันธ์ 2566

IGNITE LITE

YOUR BODY

เทคนิคออกกำลังกาย เบิร์นไขมันในตัวคุณ!
ดร.คุณัญญา มาสดใส
สาขาสรีรวิทยาการออกกำลังกาย
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
feb23-xs1-03.png
หายใจอย่างไร?ให้ออกกำลังกายได้นาน*
feb23-xs1-06.png
1.หายใจเข้า-ออกยาวๆ
2.หายใจเข้าทางจมูก
3.หายใจออกทางปาก
feb23-xs1-05.png
ฝึกหายใจด้วยหน้าท้องในท่านอนหงาย

เตรียมอะไรบ้าง?ก่อนออกกำลังกายลดไขมัน
feb23-xs1-04.png เตรียมใจ
• ใช้ระยะเวลานานมาก อย่างน้อย 6 เดือน
• เลือกกิจกรรมที่สนุก-ถนัด เช่น เข้ากลุ่มออกกำลังกาย
feb23-xs1-04.png เตรียมน้ำดื่ม
• จิบน้ำ 1 แก้ว (250 มล.) 30 นาที ก่อนออกกำลังกาย
feb23-xs1-04.png เตรียมกาย
• อบอุ่น-ยืดเหยียด นวด
• เสื้อผ้าไม่รัด รองเท้่าพอดี
• อุปกรณ์เสริมถ้าจำเป็น
feb23-xs1-04.png ปรึกษาแพทย์
• ยาประจำตัว (เบาหวาน หัวใจ ความดัน ข้อต่อ)
• ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

รูปแบบของการออกกำลังกาย

feb23-xs1-07.png


ที่มา : * Lipids Health Dis. 2018, 17, 232 ; https://labpedia.net/cholesterol-serum-cholesterol/


FAT BURNING

EXERCISES

การลดไขมันที่สะสม ต้องออกกำลังกายขนาดไหน?

ความหนัก feb23-xs1-08.png 50-60% ของอัตราชีพจรสูงสุดตามเกณฑ์อายุ
ความถี่ feb23-xs1-08.png 3-5 วันต่อสัปดาห์
ระยะเวลา feb23-xs1-08.png นานกว่า 30 นาที (ไม่รวมอบอุ่นร่างกาย)
รูปแบบ feb23-xs1-08.png กิจกรรมผสมผสาน-ต่อเนื่อง-พักสั้นๆ

feb23-xs1-09.png
สูตรการคำนวณอัตราชีพจรสูงสุดตามเกณฑ์อายุ อัตราชีพจรสูงสุดตามเกณฑ์อายุ = (220 – อายุในหน่วยปี)

1. คำนวณอัตราชีพจรสูงสุดของตนเอง
นาย ก อายุ 40 ปี
อัตราชีพจรสูงสุดตามเกณฑ์อายุ = 220 - 40 = 180 ครั้งต่อนาที

ความหมาย นาย ก ออกกำลังกายเต็มที่ (100%) ที่ชีพจรเต้น 180 ครั้งต่อนาที
feb23-xs1.png
2. ดูเป้าหมายจากตาราง
แต่นาย ก ไม่ใช่นักกีฬา
นาย ก ควรออกกำลังกายต่ำกว่า 100% ความสามารถ (ชีพจรสูงสุด)

หาก นาย ก เริ่มออกกำลังกายเพื่อเผาผลาญไขมันอย่างปลอดภัย ต้องออกกำลังกายที่ชีพจรเต้น 50% * 180 = 90 ครั้งต่อนาที
feb23-xs1.png
3. เมื่อทำได้ตามเกณฑ์นี้แล้ว
ประมาณ 3-4 สัปดาห์
จึงค่อยๆ เพิ่มไปสู่การออกกำลังกายเพื่อควบคุมน้ำหนักและเป้าหมายอื่นๆ ต่อไป

ที่ 60% * 180 = 108 ครั้งต่อนาที

feb23-xs1-11.png


ที่มา : Dis. 2010, 33, 469–477; Endocr. Connect. 2019, 8, 814–821.

feb23-xs1-12.png


* สารอาหารที่ควรได้รับก่อนการออกกำลังกาย นอกเหนือจากอาหารปกติ; % ชีพจรสูงสุด (คำนวณตามสูตร 220 - อายุ ในหน่วยปี)

ที่มา : Jeffrey A. Rothschild, Andrew E.Kilding and Daniel J.Plews. What Should I Eat before Exercise? Pre-Exercise Nutrition and the Responseto Endurance Exercise: Current Prospective and Future Directions. Nutrients 2020, 12, 3473; doi:10.3390/nu12113473.



สารอาหารเสริม
ที่มีส่วนช่วยลดไขมัน

feb23-xs1-13.png
สารสกัดจากโมโรบลัดออเร้นจ์
MORO BLOOD ORANGE EXTRACT
feb23-xs1-15.png
แอล-กลูตามีน
L-GLUTAMINE
feb23-xs1-14.png
ไอโซมอลทูโลส
ISOMALTULOSE
feb23-xs1-16.png
ชาเขียว
GREEN TEA
ดูข้อมูลเพิ่มเติมจากจากงานฝึกอบรมผลิตภัณฑ์ใหม่ IGNITE YOUR POWER

ClickICON.png
คลิกเลย!

ที่มา : Journal of Nutrition, Volume 133, Issue 7, July 2003, Pages 2239–2243., Biomolecules 2019, 9(2), 64; https://doi.org/10.3390/biom9020064, Food Sci Biotechnol. 2019 Oct; 28(5): 1287–1296., Inflammation in the Disease: Mechanism and Therapies. 2013 | Article ID 635470 | https://doi.org/10.1155/2013/635470